วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554

แอลไคน์ (Alkynes)




แอลไคน์ (Alkynes)
                    แอลไคน์เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัวประเภทที่มีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลมีสูตรโมเลกุลทั่ว ๆ ไปเป็น CnH2n-2 สารประกอบตัวแรกของแอลไคน์ คือ อะเซทิลีน(C2H2) สารตัวนี้จัดเป็นสารประกอบที่มีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมมากที่สุดชนิดหนึ่ง ใช้ทำเชื้อเพลิง ใช้สำหรับเชื่อมโลหะโดยผสมกับออกซิเจน ใช้เตรียมสารอินทรีย์ที่ใช้ทำพลาสติกและยางเทียม สูตรโครงสร้างของอะเซทิลีน คือ HC º CH
                    การเรียกชื่อสารประกอบแอลไคน์ จะเป็นไปตามระบบ IUPAC คือ เปลี่ยนคำลงท้ายเป็น ไอน์ (-yne)
                                C2H2       =             Ethyne,                  C3H4       =             Propyne,
                                C4H6       =             Butyne,                  C5H8       =             Pentyne,
                                C6H10      =             Hextyne,               C7H12      =             Heptyne,
                                C8H14      =             Octyne,                  C9H16      =             Nontyne,
                                C10H18    =             Decyne 
                    คุณสมบัติทางกายภาพและประโยชน์ของสารแอลไคลน์
1.       เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์แบบไม่มีขั้ว
2.       แอลไคน์ที่มีจำนวนอะตอมของคาร์บอน C2 – C4 จะเป็นแก๊ส และเมื่อมีจำนวนอะตอมของคาร์บอนมากขึ้นจะเป็นของเหลว (C5 – C17) และของแข็ง (C18 ขึ้นไป) ตามลำดับ
3.       แอลไคน์เป็นสารที่ไม่มีสี
4.       เป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ แต่เป็นแก๊สมีกลิ่นและจะมีกลิ่นเหม็นเนื่องจากมีสารพวกฟอสจีน หรือไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) ผสมอยู่
5.       ละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์
6.       แอลไคน์มีพันธะสามในโมเลกุลจึงทำให้มีเสถียรภาพต่ำกว่าแอลคีน และเกิดปฏิกิริยารวมตัวได้ดี
7.       แอลไคน์มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นที่สูงขึ้นตามจำนวนอะตอมของคาร์บอน
                คุณสมบัติทางเคมีของสารแอลไคน์
1.       เกิดปฏิกิริยารวมตัวได้เหมือนกับแอลคีน ซึ่งเกิดขึ้นได้ดีกว่าแอลคีนถึงสองเท่า
C2H2 + 2Ag              AgC CAg + 2H+
                2.      แอลไคน์ทำปฏิกิริยากับโลหะจะได้แก๊ส H2 ดังสมการ
3.    แอลไคน์เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ มีเขม่า และควันมาก   
             C7H12 + 1002         7CO2 + 6H2O

                    แอลไคน์เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัวประเภทที่มีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลมีสูตรโมเลกุลทั่ว ๆ ไปเป็น CnH2n-2 สารประกอบตัวแรกของแอลไคน์ คือ อะเซทิลีน(C2H2) สารตัวนี้จัดเป็นสารประกอบที่มีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมมากที่สุดชนิดหนึ่ง ใช้ทำเชื้อเพลิง ใช้สำหรับเชื่อมโลหะโดยผสมกับออกซิเจน ใช้เตรียมสารอินทรีย์ที่ใช้ทำพลาสติกและยางเทียม สูตรโครงสร้างของอะเซทิลีน คือ HC º CH

                    การเรียกชื่อสารประกอบแอลไคน์ จะเป็นไปตามระบบ IUPAC คือ เปลี่ยนคำลงท้ายเป็น ไอน์ (-yne)

                                C2H2       =             Ethyne,                  C3H4       =             Propyne,

                                C4H6       =             Butyne,                  C5H8       =             Pentyne,

                                C6H10      =             Hextyne,               C7H12      =             Heptyne,

                                C8H14      =             Octyne,                  C9H16      =             Nontyne,

                                C10H18    =             Decyne 

                    คุณสมบัติทางกายภาพและประโยชน์ของสารแอลไคลน์

1.       เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์แบบไม่มีขั้ว

2.       แอลไคน์ที่มีจำนวนอะตอมของคาร์บอน C2 – C4 จะเป็นแก๊ส และเมื่อมีจำนวนอะตอมของคาร์บอนมากขึ้นจะเป็นของเหลว (C5 – C17) และของแข็ง (C18 ขึ้นไป) ตามลำดับ

3.       แอลไคน์เป็นสารที่ไม่มีสี

4.       เป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ แต่เป็นแก๊สมีกลิ่นและจะมีกลิ่นเหม็นเนื่องจากมีสารพวกฟอสจีน หรือไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) ผสมอยู่

5.       ละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์

6.       แอลไคน์มีพันธะสามในโมเลกุลจึงทำให้มีเสถียรภาพต่ำกว่าแอลคีน และเกิดปฏิกิริยารวมตัวได้ดี

7.       แอลไคน์มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นที่สูงขึ้นตามจำนวนอะตอมของคาร์บอน

                คุณสมบัติทางเคมีของสารแอลไคน์

1.       เกิดปฏิกิริยารวมตัวได้เหมือนกับแอลคีน ซึ่งเกิดขึ้นได้ดีกว่าแอลคีนถึงสองเท่า

C2H2 + 2Ag              AgC CAg + 2H+
                2.      แอลไคน์ทำปฏิกิริยากับโลหะจะได้แก๊ส H2 ดังสมการ
3.    แอลไคน์เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ มีเขม่า และควันมาก   
             C7H12 + 1002         7CO2 + 6H2O

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น